The greenhouse effect is a process by which thermal radiation from a planetary surface is absorbed by atmospheric greenhouse gases, and is re-radiated in all directions. Since part of this re-radiation is back towards the surface, energy is transferred to the surface and the lower atmosphere. As a result, the temperature there is higher than it would be if direct heating by solar radiation were the only warming mechanism.
Solar radiation at the high frequencies of visible light passes through the atmosphere to warm the planetary surface, which then emits this energy at the lower frequencies of infrared thermal radiation. Infrared radiation is absorbed by greenhouse gases, which in turn re-radiate much of the energy to the surface and lower atmosphere. The mechanism is named after the effect of solar radiation passing through glass and warming a greenhouse, but the way it retains heat is fundamentally different as a greenhouse works by reducing airflow so that heat is not lost by convection.
The greenhouse effect was discovered by French mathematician Joseph Fourier in 1824, first reliably experimented on by Irish physicist John Tyndall in 1858, and first reported quantitatively by Swedish scientist Svante Arrhenius in 1896
ภาวะเรือนกระจก คือภาวะที่รังสีความร้อนแผ่มาบนพื้นผิวดาวเคราะห์ถูกดูดซับโดยแก๊สเรือนกระจก และแผ่รังสีต่อในทุกทิศทาง เนื่องจากส่วนของการแผ่รังสีต่อนั้นสะท้อนกลับมายังพื้นผิวโลก พลังงานถูกถ่ายโอนไปสู่พื้นผิวโลกและชั้นบรรยากาศที่ต่ำกว่า ผลที่ได้คือ อุณหภูมิจะสูงขึ้นกว่าอุณหภูมิที่มาจากรังสีของดวงอาทิตย์ปกติ
รังสีจากดวงอาทิตย์เป็นแสงที่มองเห็นได้และมีความถี่สูง ผ่านชั้นบรรยากาศแล้วให้ความร้อนแก่พื้นผิวโลก พลังงานที่ปล่อยออกมานั้นเป็นรังสีอินฟาเรดที่มีความถี่ต่ำ รังสีอินฟาเรดถูกดูดซับโดยแก๊สเรือนกระจก ซึ่งจะเปลี่ยนรังสีเหล่านั้นเป็นพลังงานกลับไปในชั้นบรรยากาศและพื้นผิวโลก ปรากฏการณ์นี้ถูกตั้งชื่อหลังจากแสงอาทิตย์ส่องผ่านกระจกและทำให้แก๊สเรือนกระจกร้อน แต่อย่างไรก็ตามแก๊สเรือนกระจกจะรักษาความร้อนไว้ ขณะที่เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก อากาศจะไหลเวียนไม่ได้ ดังนั้นความร้อนจึงไม่เสียไปโดยการพาความร้อน
รังสีจากดวงอาทิตย์เป็นแสงที่มองเห็นได้และมีความถี่สูง ผ่านชั้นบรรยากาศแล้วให้ความร้อนแก่พื้นผิวโลก พลังงานที่ปล่อยออกมานั้นเป็นรังสีอินฟาเรดที่มีความถี่ต่ำ รังสีอินฟาเรดถูกดูดซับโดยแก๊สเรือนกระจก ซึ่งจะเปลี่ยนรังสีเหล่านั้นเป็นพลังงานกลับไปในชั้นบรรยากาศและพื้นผิวโลก ปรากฏการณ์นี้ถูกตั้งชื่อหลังจากแสงอาทิตย์ส่องผ่านกระจกและทำให้แก๊สเรือนกระจกร้อน แต่อย่างไรก็ตามแก๊สเรือนกระจกจะรักษาความร้อนไว้ ขณะที่เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก อากาศจะไหลเวียนไม่ได้ ดังนั้นความร้อนจึงไม่เสียไปโดยการพาความร้อน
ปรากฏการณ์เรือนกระจกถูกค้นพบโดย นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ Joseph Fourier ในปี 1824 การทดลองครั้งแรกที่ยืนยันได้ทำโดยนักฟิสิกส์ชาวไอริส John Tyndall ในปี 1858 และรายงานเชิงปริมาณครั้งแรกถูกทำขึ้นโดย นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีดิช Svante Arrhenius ในปี 1896
ที่มา http://en.wikipedia.org/wiki/Greenhouse_effect